วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

หม่อน พืชมากประโยชน์ นำลูกหม่อนมาทำ “ลูกหม่อนอบแห้ง”

หม่อน พืชมากประโยชน์ นำลูกหม่อนมาทำ ลูกหม่อนอบแห้ง

หม่อนเป็นไม้ยืนต้นจำพวกไม้พุ่ม (tree ,shrut ) อยู่ในวงศ์ Moraceae genus Morus มีอยู่หลาย ชนิด ที่พบมากมีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Morus alba Linn.
หม่อนมีลำต้นใหญ่ ตั้งตรง มีกิ่งก้านมาก ใบ เป็นส่วนที่ใช้เลี้ยงไหม ขนาด ความหนา และลักษณะรูปร่างของขอบใบจะแตกต่างกันไปตามชนิดของพันธุ์ ราก ประกอบด้วยรากแก้ว รากแขนง และรากฝอย แต่หม่อนที่ขยายพันธุ์ด้วยกิ่งจะมีรากแขนงและรากฝอยเท่านั้น โดยรากแขนงจะทำหน้าที่ยึดลำต้นและกิ่งให้ทรงตัวอยู่ได้ ส่วนรากฝอยมีหน้าที่ดูดซึมอาหารและน้ำจากดิน ดอกและผล โดยทั่วไปหม่อนเป็นพืชที่มีดอกตัวผู้และดอกตัวเมียแยกกันคนละต้น แต่บางพันธุ์อาจมีดอกตัวผู้และดอกตัวเมียอยู่บนต้นเดียวกัน ดอกหม่อนมีลักษณะเป็นกลุ่มเกาะติดกันเป็นช่อ เมื่อดอกตัวเมียได้รับการผสมจะเปลี่ยนเป็นผล ซึ่งมีลักษณะเป็นช่อประกอบด้วยเมล็ดเล็กๆ จำนวนมาก
การใช้ประโยชน์จากหม่อน
ใบ ใช้เป็นอาหารของหนอนไหม และหนอนไหมที่เจริญเติบโตเต็มที่ จะนำโปรตีนในใบหม่อนไปสร้างเป็นโปรตีนผลิตเป็นเส้นไหม ซึ่งเส้นไหม จะเป็นวัตถุดิบในการผลิตผ้าไหมที่มีความสวยงาม
ใบหม่อนมีสาร flonoid phytoestrogen , triterpene ,ceramide , mulberroside และ น้ำมันหอมระเหย โดย มีการศึกษาพบสาร flavonol glycosides 3 ชนิด คือ quercetin 3-(6-malonyglucoside ) , rutin (quercetin 3- rutinoside ) และ isoquercetin ( quercetin 3- glucoside ) เป็นองค์ประกอบหลักของสาร LDL antioxidant โดยพบ quertin 3-(6-malonyglucoside ) และ rutin เป็นสารที่มีประสิทธิภาพสูงในใบหม่อน (Katsube et al, 2005) และใบหม่อนสามารถนำไปทำเป็นชาสำหรับชงน้ำร้อนดื่มโดยจะทำในรูปชาเขียว ชาจีน และชาฝรั่ง หรือ รับประทานใบและยอดอ่อนโดยตรงโดยการใส่ในต้ม หรือแกงก็ได้
ใบหม่อนมีโปรตีน 18-28.8 % น้ำหนักแห้ง สามารถใช้เป็นอาหารเลี้ยงสัตว์บางชนิดได้เช่นในในการเป็นอาหารปลากินพืช ใช้เป็นส่วนผสมในอาหารสำหรับสัตว์เคี้ยวเอื้องบางชนิด (FAO,2000)
 
 
 

ผลหม่อน มีการพบว่ามีanthocyanins สูง
ในผลหม่อนแห้ง มี ไขมัน 63 % กรดอินทรีย์ 27 % แอลกอฮอล์ 1.6 % และพบว่า สารcyanidin – 3-O-?-D-glucopyranoside (C3G ) ที่สกัดจากanthocyanin ในผลหม่อนสามารถต่อต้านอาการขาดเลือดในสมองได้ (Kang et al , 2005 )
ดังนั้นผลหม่อนสามารถรับประทานสด นำไปแปรรูปเป็นน้ำผลหม่อนเข็มข้นหรือพร้อมดื่ม และเป็นวัตถุดิบในการผลิตอาหารต่าง เช่นไอศกรีม แยม แยลลี่ ข้าวเกรียบ ขนมพายลูกหม่อน รวมทั้งการผลิตเป็นเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประเภทไวน์
ลำต้นและกิ่ง สามารถใช้เป็นไม้ในการสร้างผลิตภัณฑ์ทางกีฬาบางชนิดได้ และเยื่อจากเปลือกลำต้นและกิ่งสามารถนำมาทำเป็นกระดาษได้สวยงามเช่นเดียวกับกระดาษสา
นอกจากนี้สามารถนำต้นหม่อนไปใช้ในการจัดและประดับสวนเพื่อให้มีภูมิทัศน์ที่ดีได้เนื่องจากต้นหม่อนทนต่อการตัดแต่ง และหลังการตัดแต่งจะมีการแตกกิ่งและเจริญเติบโตเร็ว
ปัจจุบัน ลูกหม่อนอบแห้ง ได้รับการยอมรับว่า เป็นที่นิยมรับประทานทั่วไป เพราะสะดวกและได้คุณค่า สรรพคุณจาก ลูกหม่อน ครบถ้วน มีราคาถูก หาซื้อง่าย(ติดต่อบริษัท โจเอล224 จำกัด ผู้ผลิตและจำหน่าย ลูกหม่อนอบแห้งเจ้าแรกในไทย)
ลูกหม่อนอบแห้ง เป็นสูตร ที่คิดค้น โดย บริษัท โจเอล224 จำกัด เพราะมองเห็นถึงสรรพคุณที่มีมากมายของลูกหม่อน จึง ผลิตลูกหม่อนอบแห้ง ออกจำหน่ายในตลาดเจ้าแรก
ปริมาณและราคาจำหน่าย
1 กระปุก น้ำหนัก 50 กรัม ราคา 150 บาท
สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่าย ที่
คุณ วราพร แคล้วศึก

โทร. 085-90831178

http://www.pannfitmulberry.blogspot.com/

วิธีการสั่งซื้อสินค้า ลูกหม่อนอบแห้ง

วิธีการสั่งซื้อสินค้า ลูกหม่อนอบแห้ง

วิธีการสั่งซื้อสินค้า
1. บอกชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทร ทาง อีเมล์  pannfit@gmail.com โทรบอกที่ คุณ วราพร แคล้วศึกโทร. 085-9083178
2. ดิฉันจะจด ชื่อ-ที่อยู่ และ จ่าหน้าซองสินค้า พร้อมกับใส่สินค้ารอไว้
3. ดิฉันจะบอกเลขบัญชีธนาคาร ที่เป็นธนาคารที่คุณใช้อยู่ ให้คุณ ไปโอนเงินค่าสินค้าผ่าน ATM
4. เมื่อคุณ โอนเงินค่าสินค้าผ่าน ATM แล้ว ขอให้โทรบอกดิฉันทันที
5. ดิฉันนำซองบรรจุสินค้า ไปส่งที่ ที่ทำการไปรษณีย์ ถ้าสั่งสินค้าเกิน 500 บาท จะส่งโดยวิธี EMS คุณจะได้รับสินค้าภายใน 2 วัน
โทร แจ้ง ชื่อ-ที่อยู่ได้ที่ คุณ วราพร แคล้วศึก
โทร. 085-9083178
วิธีการชําระเงินผ่านทางธนาคาร
ธนาคาร เลขที่บัญชี สาขา ชื่อบัญชี ประเภท
ธ. ไทยพาณิชย์ 357-2-65971-5 สาขาเดอะมอลล์ งามวงศ์วาน นางสาววราพร แคล้วศึก สะสมทรัพย์
ดูข้อมูลได้ที่ http://www.pannfitmulberry.blogspot.com/

ส่วนประกอบที่สำคัญ ลูกหม่อนอบแห้ง 100% จาก อ.บ่อเกลือ จ.น่าน
ปริมาณและราคาขายปลีก 1 กระปุก ราคา 150 บาท
สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่าย ที่

คุณ วราพร แคล้วศึก
โทร. 085-90831178
http://www.pannfitmulberry.blogspot.com/

 
บล็อกสินค้าแนะนำ
 
 
 


วันอังคารที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ลูกหม่อนสวยๆ ก่อน มาทำเป็น หม่อนอบแห้ง(Dry Mulberry)

ลูกหม่อนสวยๆ ก่อน มาทำเป็น หม่อนอบแห้ง(Dry Mulberry)

 
 
 
 
 


 
 
มัลเบอร์รี่อบแห้ง
 
มัลเบอร์รี่แคปซูล
 
 
น้ำมัลเบอร์รี่
 
สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่
คุณวราพร แคล้วศึก โทร 085-9083178
ดูรายละเอียดที่ http://www.pannfitmulberry.blogspot.com/
 
บล็อกสินค้าแนะนำ
 
 
 


วันอังคารที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การเก็บรักษาลูกหม่อน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์

การเก็บรักษาลูกหม่อน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์



1. การเก็บเกี่ยวลูกหม่อนเพื่อรับประทานลูกสด
เมื่อลูกหม่อนเริ่มเปลี่ยนสีจากสีแดง เป็นสีแดง- ดำหรือสีดำ ก็เก็บผลได้โดยการใช้มือเก็บทีละลูกเนื่องจากผลหม่อนสุกไม่พร้อมกันหากปล่อย ทิ้งไว้จนผลเปลี่ยนเป็นสีดำคล้ำผลจะร่วงลงสู่พื้นดินทำให้เก็บเกี่ยวผลผลิต ได้น้อย



หลังจากเก็บผลหม่อนมาแล้วนำมาบรรจุในกล่องกระดาษโดยเรียงเป็นชั้น ๆ ไม่เกิน 2 ชั้น ทำการปิดกล่องเพื่อรอการขนส่งและจำหน่ายต่อไป หากไม่สามารถขนส่งได้ทันทีควรเก็บไว้ในห้องเย็นอุณหภูมิ 5 องศาเซลเซียส


การ เก็บรักษาเพื่อการรับประทานผลสด ควรเก็บผลหม่อนจากต้นในระยะที่มีผลสีแดงเข้มแล้วนำมาใส่ภาชนะที่โปร่งวาง จะสามารถเก็บรักษาผลหม่อนได้เป็นระยะเวลา 2 -3 วัน โดยที่คุณภาพของผลหม่อนยังคงเดิม คือมีรสชาติหวานอมเปรี้ยว
2. การเก็บเกี่ยวเพื่อการแปรรูป
หากต้องการนำไปทำน้ำผลหม่อนที่มีสีแดงก็เลือกเก็บเกี่ยวในระยะผลแดง แต่หากต้อการให้น้ำผลไม้มีสีคล้ำก็เก็บผลในระยะสีดำ สามารถนำผลหม่อนไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ได้ทันที หากไม่สามารถแปรรูปได้ทันที ควรเก็บรักษาไว้โดยบรรจุในถุงพลาสติก หรือ ตะกร้าผลไม้ ในห้องเย็นที่มีอุณหภูมิ -22 องศาเซลเซียส สามารถเก็บได้นาน 6 เดือน


3. การเก็บผลหม่อนเพื่อทำเป็น ลูกหม่อนอบแห้ง
 
 
 
 
 
-เลือกเก็บเฉพาะ ผลหม่อนสุก(สีดำ) เท่านั้น
-นำไปตากแดดให้แห้ง แล้วนำเข้าเตาอบ
-อบด้วยอุณหภูมิ 150 องศา นาน 3 ชั่วโมง(คอยดูอย่าให้ อบนานเกินไป)
จะได้ ลูกหม่อนอบแห้งที่คงคุณค่าของ สรรพคุณลูกหม่อนไว้ครบ
ปริมาณลูกหม่อนสด 20 กก. เมื่ออบแล้วจะเป็น ลูกหม่อนอบแห้ง 1 กก.
                                                          
1 กระปุก น้ำหนัก 50 กรัม ราคา 150 บาท
สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่าย ที่
คุณ วราพร แคล้วศึก

โทร. 085-90831178

http://www.pannfitmulberry.blogspot.com/